กระสุนขนาด 9 มม ที่ ใช้โดยทั่วไปในประเทศไทยมีอยู่ ขนาด
– 1 ) 9 ม.ม
– 2 ) .380 ACP ( 9 ม.ม สั้น )
– 3 ) .38 super
– 4 ) .38 special
– 5 ) .357 แม็กนั่ม
การเรียกชนิดกระสุน ส่วนใหญ่เรียกตามความยาวหน้าตัด
แบบที่ 1 – เรียกเป็น ม.ม
แบบที่ 2 – เป็นนิ้ว
ตัวอย่าง .357 เรียก .357 เพราะหน้าตัดกว้าง .357 นิ้ว
.38 เรียก .38 เพราะหน้าตัดกว้าง .357 แต่ ถ้าเหมือนกันเดี๋ยวซ้ำเลยปัดเศษ เป็น .38 นิ้ว
และการเรียกชื่อกระสุนปืน ส่วนใหญ่ถูกกำหนดตายตัวไว้แล้วเพื่อไม่ให้ซ้ำกัน
หรือไม่ก็เรียกชื่อมันให้ครบก็ได้เช่น
9 ม.ม. พารา
.38 สเป
.38 ซูเปอร์ ประมาณนี้
— ส่วนลูกโม่ 9 ม.ม ก็หาดูได้ทั่วไป มันก็ .38 สเป หรือ .357 แม็กนั่ม นั่นแหละ ครับ แต่เค้าไม่นิยมเรียก
.380 หรือ 9 มม สั้น
.380 ACP หรือ 9 มม สั้น
— รหัสอย่างเป็นทางการ 9 คูณ 17 มม
( หมายเหตุ ACP ย่อมาจาก — automatic colt pitol —
—-หน้าตัดกว้าง 9 มม หรือ ถ้าทศนิยม 3 หลักก็ประมาณ .357 หรือ ถ้าปัด
เศษก็เป็น .38 แต่ไม่เรียก .38 เพราะเดี๋ยวไปซ้ำกับ กระสุนปืนลูกโม่ .38 เลยเรียก .380
— ลักษณะ ขนาดเท่าเท่ากับ 9 มม พารา แต่สั้นกว่านิดหนึ่ง อานุภาพการหยุดหยั้ง ก็ เป็นรอง 9 มม
พารา อยู่ประมาณ 15 -20 เปอร์เซ็น
( หมายเหตุ ตัวนี้แหละ นักข่าวชอบพูดผิด พูดเป็น .38 ลืม 0 ไป มันเลยผิดครับ กลายเป็น .38
ของลูกโม่เลย
ลักษณะการใช้งาน
กระสุนประเภทนี้จัดว่าเป็นกระสุนขนาดเล็ก
ปืนที่ใชกระสุนขนาดนี้จึงเป็นปืนประเภท มิมิ หรือ subcompack เพราะว่ากระสุนมีขนาด ค่อนข้างเล็ก
สั้น แรงถีบ หรือ รีคอย น้อย
—– ปืน ขนาดนี้ที่ดังดังก็ วอลเธอร์ ppk ของ เจทมส์ บอล 007 นั้นเอง
ประวัติ ถูกออกแบบขึ้นมาโดย จอนห์ โมเลส เบราว์นิ่งก์
ใช้ในยุโรปเป็นครั้งแรก ที่ เบลเยี่ยม
ประเทศที่ประจำการกระสุนขนาดนี้ก็มี
-เซค
– สโลวาเกีย
-อิตาลี
เช่นเดียวกับ 9 มม
กระสุนชนิดพิเศษ
—– กระสุน JHP
ปืน .380 ที่ได้รับความนิยม
– sig sauer p-238
– วอลเธอร์ ppk
– glock 28
– คารห์ p 380
– เควิน 380